รายงานข้อเสนอโครงงาน
1.ชื่อโครงงาน
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
2.ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อและการศึกษา
3.ชื่อผู้จัดทำ
นางสาวปิยะมาศ นาคเป้า
4.ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
คุณครุอุไรวรรณ โสภา
5.ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน
การศึกษาเป็นกระบวนการในการพัฒนาทรัพยากรของมนุษย์ที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนให้มีความรู้
ซึ่งในปัจจุบัน การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต หรือ
อินทราเน็ตผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถตามความสนใจ โดยเนื้อหาภายในบทเรียน
อาจจะประกอบไปด้วย รูปภาพ ข้อความเสียง และมัลติมีเดียต่างๆ
อีกทั้งบทเรียนออนไลน์ทุกคนสามารถรับรู้ได้ทุกคนและทุกสถานที่
ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ เพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
ให้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น
6.วัตถุประสงค์ของโครงงาน
6.1) เพื่อวิเคราะห์เเละออกเเบบบทเรียนออนไลน์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
6.2) เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
6.3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
7.ขอบเขตของโครงงาน
7.1) การเกิดพันธะโคเวเลนต์
7.2) ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
7.3) โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
7.4) การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
7.5) เเนวคิดเกี่ยวกับเรโซเเนนซ์
7.6) ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
7.7)รูปร่างของโมเลกุล
7.8)สภาพขั้วชองโมเลกุลโคเวเลนต์
7.9)แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
7.9)แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
8.ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
8.1) การวิเคราะห์แบบ
8.2) การออกแบบระบบ
8.3) การพัฒนาระบบ โดยใช้โปรแกรมประเภท CMS และโปรแกรมประยุกต์
8.5) การบำรุงรักษาระบบ
9.แผนการดำเนินโครงงาน
10.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
10.1. สามารถวิเคราะห์และออกแบบบทเรียนออนไลน์
เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
10.2. บทเรียนออนไลน์
เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ สร้างด้วยเว็บ Blogger
10.3.สามารถเขียนแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมประเภท CMS
11.งบประมาณ 0 บาท
12.ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
บทเรียนออนไลน์ หรือ E-learning (Electronic E-learning) คือการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้โดยมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา
เป็นการนำ Internet
เข้ามาส่งเสริมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิผล
มัลติมีเดีย คือระบบสื่อสารข้อมูลผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยตัวอักษร
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และมีวิดีโอ หรือ วีดีทัศน์ผสมผสานโดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อสื่อความหมายอย่างมีปฏิสัมพันธ์
13.สถาบันหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
14. เอกสารอ้างอิง
(1)พิมลพันธ์ ประเสริฐวงศ์ เเละคณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.5 . กรุงเทพมหานคร
10200 : บริษัท อักษรเจริญพัฒน์ จำกัด . 2560
(2) นางณัฐสรวง ทิพานุกะ และ คณะ เคมี เล่ม 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 พิมพ์ครั้งที่ 10 พ.ศ.2559 กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว 2249 . 2559
(3)http://www.vcharkarn.com/lesson/1171 ( 2018 ,January 30 )
(4)https://sites.google.com/site/chunyarat47158/chemical-bond/covalent-bond/molekul-thi-mi-pen-pi-tam-kd-xxk-tet ( 2018 ,January 30 )
(5)https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/chemical-bond/khwam-yaw-phantha-laea-phlangngan-phantha( 2018 ,January 30 )
(4)https://sites.google.com/site/chunyarat47158/chemical-bond/covalent-bond/molekul-thi-mi-pen-pi-tam-kd-xxk-tet ( 2018 ,January 30 )
(5)https://sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/chemical-bond/khwam-yaw-phantha-laea-phlangngan-phantha( 2018 ,January 30 )
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น